คอเลสเตอรอลสูงเกิน 200…. “ไฟโตสเตอรอล” จัดการได้คอเลสเตอรอลสูงเกิน 200…. “ไฟโตสเตอรอล” จัดการได้คอเลสเตอรอลสูงเกิน 200…. “ไฟโตสเตอรอล” จัดการได้คอเลสเตอรอลสูงเกิน 200…. “ไฟโตสเตอรอล” จัดการได้
  • ผลิตภัณฑ์
    • All Product
    • New Product
    • Health & Wellness
    • Beauty
    • Weight & Sport Nutrition
  • คู่มือแนะนำสุขภาพ
    • เคล็ดลับผิวสวยใส อ่อนกว่าวัย
    • เคล็ดลับผมสวยสุขภาพดี
    • เคล็ดลับดูแลสุขภาพกระดูกและข้อ
    • เกร็ดความรู้สุขภาพ
    • เคล็ดลับดูแลสมองและระบบประสาท
    • สุขภาพแข็งแรง เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
    • ลดน้ำหนักกระชับสัดส่วน
    • เคล็ดลับดูแลสุขภาพดวงตา
    • สุขภาพหัวใจและหลอดเลือด
  • ข่าวสาร
  • สถานที่จัดจำหน่าย
  • ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors
Filter by Categories
กิจกรรม
ลดน้ำหนักกระชับสัดส่วน
สุขภาพหัวใจและหลอดเลือด
สุขภาพแข็งแรง เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
เกร็ดความรู้สุขภาพ
เคล็ดลับดูแลสมองและระบบประสาท
เคล็ดลับดูแลสุขภาพกระดูกและข้อ
เคล็ดลับดูแลสุขภาพดวงตา
เคล็ดลับผมสวยสุขภาพดี
เคล็ดลับผิวสวยใส อ่อนกว่าวัย

       คอเลสเตอรอลสูง คือ ภาวะที่ระดับคอเลสเตอรอลในเลือดสูงเกินค่ามาตราฐานที่กำหนด โดยมีระดับคอเลสเตอรอลรวม (Total Cholesterol) สูงกว่า 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร หรือ มีระดับคอเลสเตอลชนิดที่ไม่ดี (LDL Cholesterol) สูงกว่า 130 มิลลิกรัม/เดซิลิตร เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดตามมา เช่น โรคหลอดเลือดแดงแข็ง โรคหัวใจขาดเลือด โรคหัวใจวาย โรคหลอดเลือดสมอง เป็นต้น ซึ่งเป็นโรคที่เป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆในประเทศไทย

       คอเลสเตอรอล 75 เปอร์เซ็นต์ สร้างจากตับ ในขณะที่อีก 25 เปอร์เซ็นต์ มาจากอาหาร ดังนั้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารจึงเป็นสิ่งสำคัญ ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีคอเลสเตอรอลและไขมันสูง เช่น เนื้อแดง เนื้อติดมัน เครื่องในสัตว์ เนยมาการีน เบเกอร์รี่ เป็นต้น และเลือกรับประทานอาหารที่มีส่วนช่วยในการลดคอเลสเตอรอล เช่น ธัญพืชไม่ขัดสี พืชตระกูลถั่ว จมูกข้าว น้ำมันรำข้าว ซึ่งอุดมไปด้วยสารสำคัญที่มีชื่อว่า ไฟโตสเตอรอล (Phytosterol) สามารถช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี หรือ LDL ได้ เนื่องจากไฟโตสเตอรอลมีโครงสร้างคล้ายกับคอเลสเตอรอล จึงแข่งขันกับคอเลสเตอรอลที่ได้จากอาหาร ไม่ให้คอเลสเตอรอลจากอาหารถูกดูดซึมผ่านผนังลำไส้ได้ถึง 30-60 %  จึงสามารถช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี หรือ LDL ในเลือดได้ จากการรวบรวมการศึกษาหลายงานวิจัย พบว่าการรับประทานไฟโตสเตอรอล วันละ 1.5-2 กรัมต่อวัน สามารถลดระดับ LDL ในกระแสเลือดได้ประมาณ 9-14%

(ภาพซ้าย) โครงสร้างของคอเลสเตอรอล (ภาพขวา) โครงสร้างของไฟโตสเตอรอล

 

References:

  1. Milagros Rocha, Celia Banuls, Lorena Bellod, Ana Jover, Victor M. Victor and Antonio Hernandez-Mijares. A Review on the Role of Phytosterols: New Insights Into Cardiovascular Risk. Current Pharmaceutical Design, 2011, 17, 4061-4075
  2. Mohammed H. H., Jiri J. Frohlich. (1999). Effect of dietary phytosterols on cholesterol metabolism and atherosclerosis: clinical and exprerimental evidence. The American journal of medicine. 107, 588-594

 

  • Facebook iconFacebook
  • Twitter iconTwitter
  • LINE iconLine

Related posts

กันยายน 19, 2016

สุขภาพหัวใจและหลอดเลือด


Read more
กันยายน 19, 2016

ไขมันในเลือดสูง


Read more
  • ประกาศความเป็นส่วนตัว
  • นโยบายการใช้คุกกี้
  • แบบฟอร์มการขอใช้สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
© Copyright 2016. All Rights Reserved.
Cleantalk Pixel